Acronyms exercises :)
Directions:
Find words or phrases standing for the following acronyms with short
descriptions.
1. IT
IT
(information technology) เป็นคำศัพท์ที่รวมรูปแบบทั้งหมดของเทคโนโลยีที่ใช้สร้าง
เก็บ แลกเปลี่ยน และใช้สารสนเทศในรูปแบบหลากหลาย (ข้อมูลทางธุรกิจ สนทนาทางเสียง
ภาพ ภาพเคลื่อนไหว การนำเสนอแบบมัลติมีเดีย และรูปแบบอื่นๆ)
ศัพท์คำนี้เข้าใจอย่างง่ายหมายถึงเทคโนโลยีโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ในคำเดียวกัน
สิ่งนี้เป็นเทคโนโลยีที่กำลังขับเคลื่อนสิ่งที่เรียกว่า “การปฏิวัติสารสนเทศ”
http://www.com5dow.com
2.ICT
เทคโนโลยีที่ช่วยในการรวบรวมข้อมูล
ตรวจสอบ จัดหมวดหมู่ เรียงลำดับ สรุป คำนวณ จัดเก็บ ค้นคืน จัดทำสำเนา
และแพร่กระจาย หรือสื่อสาร ข้อมูล ทำให้ข้อมูลกลายเป็นสารสนเทศที่ดี มีความถูกต้อง
ตรงตามความต้องการ และเกิดคุณค่าต่อผู้ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) หมายถึง
เทคโนโลยีทั้งหลาย (โดยมีเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การสื่อสาร และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เป็นหลัก) ที่ทำหน้าที่ใน การจัดการข้อมูล ได้แก่ การนำข้อมูลเข้า
การประมวลผลข้อมูล ให้ได้ผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ และเผยแพร่ต่อไปยังผู้บริโภค
หรือผู้ใช้ ให้สามารถได้ใช้ผลผลิตนั้น อย่างถูกต้อง ตรงและทันกับความต้องการ
เราสามารถใช้ติดต่อสื่อสารหาข้อมูล ความรู้ในการศึกษา
กับสถาบันทั้งในและต่างประเทศได้ เพื่อหาความรู้และโลกทัศน์ใหม่ๆได้
ICT มาจาก Information สารสนเทศ,
สารนิเทศ, ในบางครั้งหมายถึงข้อมูล
-Communication การสื่อสาร
-Technology เทคโนโลยี
http://2.bp.blogspot.com
http://mickey-mook.exteen.com/20090731/ict-1
3. CAI
Computer Assisted
Instruction คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) หมายถึง
สื่อการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง
ซึ่งใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการนำเสนอสื่อประสมอันได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง
กราฟิก แผนภูมิ กราฟ วิดีทัศน์ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง เพื่อถ่ายทอดเนื้อหาบทเรียน
หรือองค์ความรู้ในลักษณะที่
ใกล้เคียงกับการสอนจริงในห้องเรียนมากที่สุดโดยมีเป้าหมายที่สำคัญก็คือ
สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียน และกระตุ้นให้เกิดความต้องการที่ จะเรียนรู้
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นตัวอย่างที่ดีของสื่อการศึกษาในลักษณะตัวต่อตัว
ซึ่งผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์
หรือการโต้ตอบพร้อมทั้งการได้รับผลป้อนกลับ (FEEDBACK) นอกจากนี้ยังเป็นสื่อ
ที่สามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียนได้เป็นอย่างดี
รวมทั้งสามารถที่จะประเมิน และตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนได้ตลอดเวลา
http://www.baanmaha.com/community/thread16649.html
4. CALL
คอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนภาษา(Computer-Assisted
Language Learning-CALL)
ฉลอง ทับศรี ( 2538:1 ) กล่าวว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เป็นบทเรียนที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นตัวนำเสนอเนื้อหาและกิจกรรมการเรียน ส่วนใหญ่มุ่งที่จะให้ผู้เรียนด้วยตนเองเป็นหลัก
สุรางค์ โคว้ตระกูล ( 2536:237 ) กล่าวว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนักเรียนให้เกิดการเรียนรู้เป็นรายบุคคล ใช้ในการทบทวนบทเรียนการทำแบบฝึกหัด การติวและการสร้างสถานการณ์จำลองช่วยในการสอนแก้ปัญหา
ล็อคคาร์ด (1990:164) ได้กล่าวว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึงการใช้คอมพิวเตอร์โดยตรงในการจัดการเรียนการสอนซึ่งเป็นสื่อสาร 2 ทิศทางกับคอมพิวเตอร์ในการตอบคำถามและการได้รับผลย้อนกลับในการตอบทันที
http://wilailuckjanekrueng.blogspot.com/2013/01/call.html
5. WBI
Web Base Instruction เป็นการจัดกิจกรรมการสอนในรูปแบบของ
Web Knowledge Based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา
หรือ ดำเนินกิจกรรม หรือที่เรานิยมเรียกกันติดปากว่า “การเรียนการสอนแบบ
Online” นั่นเอง
http://www.blog.prachyanun.com/view.php?article_id=120
6.CBI
Computer-based instruction is any curricula in which students interact with a computer as a key element of the learning process. Although the term is used to describe a number of different teaching methodologies and curricula, an instructor is almost always present to organize and monitor student activities. Students complete exercises and view materials on a computer screen rather than receiving the information from written material or an instructor's presentation. This dramatic change from traditional teaching has far-reaching implications for the future of education.
http://itstillworks.com/computer-based-instruction-education-1226.html
7. Computer Mediated Communication (CMC)
Computer-mediated communication (CMC) is a process in which human data interaction occurs through one or more networked telecommunication systems. A CMC interaction occurs through various types of networking technology and software, including email, Internet Relay Chat (IRC), instant messaging (IM), Usenet and mailing list servers.
CMC technology saves time and money in IT organizations by facilitating the use of all communication formats.
Computer mediated communication is divided into synchronous and asynchronous modes. In synchronous communication, all participants are online simultaneously. In asynchronous communication there are time constraints on communication messages and responses, as with emails.
Key CMC features include conversation recordability, formal communication, and user identity anonymity, depending on software type - such as IM. However, CMC user statement interpretation may be difficult due to the absence of verbal communication.
https://www.techopedia.com/definition/392/computer-mediated-communication-cmc
8. TELL
or Technology-enhanced language learning deals with the impact of technology on teaching and learning a second langauage also called the L2. Technology-enhanced language learning refers to the use of the computer as a technological innovation to display multimedia as a means of complementing a teaching method langauge teachers. What's important to note is that TELL is not a teaching method but rather an approach that can be used alongside a teaching method to help teach.
https://ccit205.wikispaces.com/What%20is%20T.E.L.L?
9. MUD
Multi-User Dungeon,Multi-User Dimension and Multi-User Domain is a multiplayer real-time virtual world, usually text-based. MUDs combine elements of role-playing games, hack and slash, player versus player, interactive fiction, and online chat. Players can read or view descriptions of rooms, objects, other players, non-player characters, and actions performed in the virtual world. Players typically interact with each other and the world by typing commands that resemble a natural language.
https://en.wikipedia.org/wiki/MUD
10. MOO
Multi-user domain (MUD), object oriented (MOO) is a virtual reality system in which several users are connected at one time. Users from around the world log in to use this object-oriented database system, which is stored on a remote server.
MOO was originally designed to allow role-playing gamers to play text-based adventure games across computer networks. Since then, MOO has been adapted for educational and other purposes such as collaborative software development, distance education and conferencing.
MOO is one of the most popular versions of MUD development.
https://www.techopedia.com/definition/24990/multi-user-domain-object-oriented-moo
Directions: Describe the following terms.
Synchronous
การซิงโครโครไนซ์บิตและการซิงโครไนซ์บล็อกเมื่อสัญญาณข้อมูลถูกส่งผ่านไปตามสายส่งสัญาญาณ เข้าสู่
DTE ปลายทาง สิ่งที่สำคัญก่อนอื่นก็คือ
อุปกรณ์ปลายทางจะต้องสามารถสัญญาณไบนารีหรือบิตซึ่งเป็นสัญญาณพื้นฐานที่สุดนี้ให้ได้อย่างถูกต้องตาม
จังหวะที่ส่งมา เสียก่อน
การที่อุปกรณ์ปลายทางสามารถรับส่งอุปกรณืไบนารีได้ถูกต้องตามจัหวะนี้เรียกว่า การ
ซิงโครไนซ์บิต
เมื่ออุปกรณ์ปลายทางสามารถรับส่งบิตต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องแล้ว
อุปกรณ์ปลายทางก็ยังจำเป็นต้องรู้ว่าสัญญาณที่รับมานั้น สำหรับสหัสแต่ละตัวมีการเริ่มต้นและสิ้นสุดที่ใหนเรียกว่าการซิงโครไนซ์บล็อก
วิธีง่าย ๆ ที่จะทำให้มีการซิงโครไนซ์บิต และการซิงโครไนซ์บล็อกนั้น
ทำได้โดยการส่งสัญญาณไทมิ่งไปยังสายอีกเส้นหนึ่งขนานไปกับสายที่ส่งสัญญาณข้อมูล
แต่วิธีนี้จะไม่สามารถทำได้กรณีที่ติดต่อกัน เป็นระยะไกล ๆ เพระค่าใช้จ่ายสูงมาก
Asynchronous
โดยทั่วไป asynchronous (ออกเสียง ay-SIHN-kro-nuhs จากภาษากรีก
asyn- หมายถึง ไม่ และ chronos, หมายถึง
เวลา) เป็นคุณศัพท์อธิบายวัตถุหรือเหตุการณ์ที่ไม่มีพิกัดด้านเวลา
ในเทคโนโลยีสารสนเทศ ศัพท์นี้มีการใช้หลายความหมาย
1) ในสัญญาณการสื่อสารภายในเครือข่าย
หรือระหว่างเครือข่าย สัญญาณ asynchronous เป็นหนึ่งที่ส่งผ่านตามอัตรานาฬิกาต่างจากอีกสัญญาณ
(สัญญาณ plesiochronous เกือบทั้งหมด แต่ไม่ synchronization และวิธีนี้ได้รับการปรับปรุงตัว
และสัญญาณ synchronous ทำงานในอัตรานาฬิกาเดียวกัน
2) ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ปฏิบัติการ asynchronous หมายถึง
กระบวนการปฏิบัติงานอย่างอิสระของอีกกระบวนการ ขณะที่ ปฏิบัติการ synchronous
หมายถึง
กระบวนการทำงานเฉพาะผลลัพธ์ของอีกกระบวนการที่เสร็จสิ้นหรือหยุดปฏิบัติการ
กิจกรรมแบบแผนอาจจะใช้โปรโตคอล synchronous ที่จะส่งไฟล์จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
แต่ละการส่งผ่านได้รับ การตอบสนองได้รับการส่งออกชี้ถึงความสำเร็จหรือต้องส่งใหม่
แต่การส่งผ่านสำเร็จของข้อมูลต้องการตอบสนองไปยังการส่งผ่านก่อนหน้านี้ก่อน
อีกเริ่มต้นอีกกระบวนการ
การทำงานของ Synchronous และ
Asynchronous
การส่งแบบซิงโครนัสและการส่งแบบอะซิงโครนัส
วิธีส่งข้อมูลในทางปฏิบัตินั้น
เมื่อแบ่งตามลักษณะการซิงโครไนซ์แล้วจะแบ่งได้เป็นการส่งแบบซิงโครนัส และการส่งแบบอะซิงโครนัส
ซึ่งทั้งสองแบบนี้จะใช้วิธีแยกสัญญาณไทมิ่งจากสัญญาณข้อมูลที่รับมา
การส่งแบบอะซิงโครนัสซึ่งส่วนใหญ่จะใช้กับระบบที่มีการส่งข้อมูลอัตราต่ำนั้น DTE
ทางด้านส่งเมื่อต้องการส่งสัญญาณรหัสออกไป
ก็จะจัดสัญญาณนั้นให้อยู่ในรูปอนุกรมแล้วเติมบิตเริ่มต้น ( start bit ) ไว้ที่ด้านหน้า และเติมบิตสิ้ดสุด
( stop bit ) ไว้ที่ด้านหลัง
แล้วส่งออกไปตามจัหวะของสัญญาณนาริกาทางด้านส่ง ส่วน DTE ทางปลายทางนั้น
เมื่อรับบิตเริ่มต้นได้ก็จะทำการรับสัญญาณข้อมูลที่ส่งตามมา
โดยใช้จังหวะของสัญญาณนาฬิกาของสถานีตัวเอง และจะรับสัญญาณจนกว่าจะถึงบิตสิ้นสุดแล้วจึงหยุดรับ ดังนั้นวิธีการนี้ DTE
ก็จะทำการซิงโครไนซ์บิตและซิงโครไนซ์บล็อกพร้อมกันไป แต่วิธีนี้จะมีปัญหา
เกิดขึ้นได้ถ้าสัญญาณรหัสที่ส่งมามีความยาวมากขึ้น เพราะนั้นหมายถึงจังหวะสัญญาณนาฬิกาทางด้านส่งและด้านรับจะมีโอกาศเบี่ยงเบนกันไปได้มากขึ้น เพราะฉะนั้นจึงมักจะใช้ส่งสัญญาณรหัสเป็นหน่วยสั้น
ๆ
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น